วันพฤหัสบดีที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่5

EAED3214 INCLUSIVE EDUCATION EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

กลุ่มเรียน102

วันพฤหัสบดีที่   12  กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558











ความรู้ที่ได้รับ  











              การสอนเด็กพิเศษและเด็กปกติ ก่อนจะเข้าสู่บนเรียน อาจารย์ได้ให้วาดมือของตนเองโดยใช้ ถุงมือใส่มือตนเอง ว่านักศึกษาจะจำมือหรือขณะของมือตนเองได้หรือไม่


ทักษะของครูและทัศนคติ

การฝึกเพิ่มเติม
- อบรมระยะสั้น
-สื่อต่างๆ
การเข้าใจภาวะปกติ
-เด็กมักคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่าง
-ครูต้องเรียนรู้ มีปฎิสัมพันธ์กับเด็กปกติและเด็กพิเศษ
-รู้จักเด็กแต่ละคน
-มองเด็กให้เป็นเด็ก
การคัดแยกเด็กที่มีพัฒนาการช้า 
-การเข้าใจพัฒนาการของเด็ก จะช่วยให้ครูสามารถมองเห็นความแตกต่างของเด็กแต่ละคนได้ง่าย
ความพร้อมของเด็ก
-วุฒิภาวะ
-แรงจูงใจ
-โอกาส
การสอนโดยบังเอิญ
-.ให้เด็กเป็นฝ่ายเริ่ม
-เด็กเข้าหาครูมากเท่าไรยิ่งมีโอกาสในการสอนมากขึ้นเท่านั้น
-ครูต้องพร้อมที่จะพบเด็ก
-ครูต้องมีความสนใจเด็ก
-ครูต้องมีความรู้สึกดีต่อเด็ก
ครูต้องมีอุปกรณ์และกิจกรรมล่อใจเด็ก
-ครูต้องใช้เวลาในการติดต่อไม่นาน
อุปกรณ์
-มีลักษณะง่ายๆ
-ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง
-เด็กพิเศษได้เรียนรู้จากการสังเกตและเลียนแบบเด็กปกติ
ตารางประจำวัน
-เด็กพิเศษไม่สามารถยอมรับการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ทำอยู่ประจำ
-กิจกรรมต้องเรียงลำดับเป็นขั้นตอนและทำนายได้
-เด็กจะรู้สึกและมั่นใจ
-คำนึงความพอเหมาะของเวลา
ทัศนคติของครู
การยืดหยุ่น
-การแก้แผนการสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์
-ยอมรับของเขตความสามารถของเด็ก
-ครูต้องตอบสนองต่อเป้าหมายที่สำคัญที่สุดสำหรับเด็กแต่ละคน
การใช้สหวิทยาการ
-ใจกว้างต่อคำแนะนำของบุคคลในอาชีพอื่นๆ
-สร้างความสัมพันธ์ระหว่างการบำบัดกับกิจกรรมในห้องเรียน
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการเรียนรู้
เด็กทุกคนสอนได้
-เด็กเรียนไม่ได้เพราะไร้ความสามารถ
-เด็กเรียนไม่ได้เพราะขาดโอกาส
เทคนิคการใช้แรงเสริม
-ความสนใจของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็กนั้นสำคัญมาก
-มีแนวโน้มจะเพิ่มพฤติกรรมที่ดีของเด็กและมักเป็นผลในทันที
-หากผู้ใหญ่ไม่สนใจพฤติกรรมที่ดีนั้นๆก็จะลดลงหายไป
วิธีการแสดงออกถึงแรงจากผู้ใหญ่
-ตอบสนองด้วยวาจา
-การยืนหรือนั่งใกล้เด็ก
-สัมผัสทางกาย
หลักการให้แรงเสริมในเด็กปฐมวัย
-ครูต้องให้แรงเสริมทันทีที่เด็กมีพฤติกรรมอันพึงประสงค์
-ครูควรให้ความสนใจเด็กนานเท่าที่เด็กมีพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์
การแนะนำหรือบอกบท
-ย่อยงาน
-ลำดับความยากง่ายของงาน
-การบอกบทจะค่อยๆน้อยลงตามลำดับ
ขั้นตอนการให้แรงเสริม
-สังเกตและกำหนดจุดมุ่งหมาย
-วิเคราะห์งานกำหนดจุดประสงค์ย่อยๆในงานแต่ละชิ้น
-สอนจากง่ายไปยาก
-ให้แรงเสริมเฉพาะพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับเป้าหมายที่สุด
การกำหนดเวลา
-จำนวนและความถี่ของแรงเสริมที่ให้กับพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กต้องการมีความเหมาะสม
การลดหรือหยุดแรงเสริม
-ครูจะงดแรงเสริมเด็กที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
-ทำอย่างอื่นและไม่สนใจเด็ก
-เอาอุปกรณ์หรือของเล่นออกไปจากเด็ด





ประเมินในชั้นเรียน


ตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งตัวเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์ 

เพื่อน : ตั้งใจทำงาน ถึงแม้จะคุยเไปหน่อย ช่วยกันตอบคำถาม   วันนี้เพิ่มดูตื่นเต้นกับการเซอรไพรงานวันเกิดอาจารย์


อาจารย์ : อาจารย์ได้สอน บทบาทครูปฐมวัยในห้องเรียนรวม  อธิบายและยกตัวอย่างเข้าใจง่าย 














บันทึกอนุทินครั้งที่4

EAED3214 INCLUSIVE EDUCATION EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

กลุ่มเรียน102

วันพฤหัสบดีที่   5  กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558











ความรู้ที่ได้รับ  








วันนี้อาจารย์ให้วาดรูปดอกไม้ โดยอาจารย์จะนำแบบมาให้ดูและให้วาดออกมาให้เหมือนของจริงมากที่สุดแล้วระบายดูให้สวยงามเหมือนในรูปที่อาจารย์ให้ดู 40 นาที พร้อมระบายสี


















ครูไม่ควรวินิจฉัย
-การวิจัย หมายถึงการตัดสินใจโดยดูจากอาการหรือสัญญาณบางอย่าง
-จากอากาศที่แสดงออกมานั้นอาจนำไปสู่ความเข้าใจผิดได้
ครูไม่ควรตั้งชื่อหรือระบุประเภทเด็ก
-เกิดผลเสียมากกว่าผลดี
-ชื่อเปรียบเสมือนตราประทับตัวเด็กตลอดไป
-เด็กกลายเป็นเช่นนั้นจริงๆ
ครูไม่ควรบอกพ่อแม่ว่าเด็กมีบางอย่างผิดปกติ 
-พ่อแม่ของเด็กพิเศษมักทราบดีว่าลูกของเขามีปัญหา
-พ่อแม่ไม่ต้องการให้ครูมาย้ำในสิ่งที่เขารู้อยู่แล้ว 
-ครูช่วยให้ผู้ปกครองมีความหวังและเห็นแนวทางที่จะช่วยให้เด็กพัฒนา
ครูทำอะไรบ้าง
-ส้งเกตเด็กอย่างมีระบบ
-จดบันทึกพฤติกรรมเด็กเป็นช่วงๆ
สังเกตอย่างมีระบบ
-ไม่มีคัยใครสามารถสังเกตอย่างมีระบบได้ดีกว่าครู
-ครูเห็นเด็กในสถานการณ์ๆช่วงเวลายาวนานกว่า
-ต่างจากแพทย์ นักจิตวิทยา นักคลินิก มักมุ่งความสนใจอยู้ที่ปัญหา
การตรวจสอบ
-จะทราบว่าเด็กมีพฤติกรรมอย่างไร
-เป็นแนวทางสำคัญที่ทำให้ครูและพ่อแม่เข้าใจเด็กดีขึ้น
บอกได้ว่าเรื่องใดบ้างที่เด็กต้องการความช่วยเหลือ
ข้อควรระวังในการปฎิบัติ
-ครูต้องไวต่อความรู้สึกและตัดสินใจล่วงหน้าได้
-พฤติกรรมบางอย่างของเด็กไม่ได้ปรากฎให้เห็นเสมอไป
การบันทึกการสังเกต
การนับอย่างง่ายๆ
-นับจำนวนครั้งของการเกิดพฤติกรรม
-กี่ครั้งในแต่ละวันกี่ครั้งในแต่ละชั่วโมง
-ระยะเวลาในการเกิดพฤติกรรม
การบันทึกต่อเนื่อง
-.ให้รายละเอียดได้มาก
-เขียนทุกอย่างที่เด็กทำในช่วงเวลาหนึ่ง หรือช่วงกิจกรรมหนึ่ง
-โดยไม่ต้องเข้าใจไปแนะนำช่วยเหลือ
การบันทึกไม่ต่อเนื่อง
-บันทึกลงบัตรเล็กๆ
-เป็นการบันทึกสั้นๆเกี่ยวกับพฤติกรรมของเด็กแต่ละคนในช่วงเวลาหนึ่ง
การเกิดพฤติกรรมบางอย่างมากเกินไป
-ควรเอาใจใส่ถึงระดับความมากน้อยของความบกพร่องมากกว่าชนิดของความบกพร่อง
-พฤติกรรมไม่เหมาะสมที่พบได้ในเด็กทุกคนไม่ควรจัดเป็นสิ่งผิดปกติ
การตัดสินใจ
-ครูต้องตันสินใจด้วยความระมัดระวัง
-พฤติกรรมของเด็กที่เกิดขึ้นไปขัดขวางความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กหรือไม่

คำถามท้ายบท


1. ให้นักเรียนบอกบทบาทหน้าที่ของครูปฐมวัยถึงสิ่งที่ควรปฎิบัติและไม่ควรปฏิบัติต่อเด็กในห้องเรียรวม

ตอบ  
ควรปฎิบัติ
  •  การบันทึกต่อเนื่อง
  •  การบันทึกการสังเกต
  •  การสังเกตเด็กอย่างเป็นระบบ
ไม่ควรปฎบัติ
  • ครูไม่ควรวินิจฉัน
  • ครูไม่ควรตั้งชื่อเปรียบเสมือนประทับตัวเด็กตลอดไป
  • พ่อแม่ไม่ต้องการให้ครูย้ำในสิ่งเขารู้อยู่

2.บอกลักษณะการสังเกตเด็กอย่างเป็นระบบว่ามีรูปแบบใดบ้างและแต่ละรูปแบบมีวิธีสังเกตเด็กอย่างไร

ตอบ   
สังเกตอย่างเป็นระบบ และสังเกตอย่างไม่เป็นระบบ

สังเกตอย่างเป็นระบบ ครูเห็นเด็กในสถานการณ์ต่างๆช่วงเวลายาวนานกว่า  เป็นการสังเกตอย่างมีจุดมุ่งหมาย
สังเกตไม่เป็นระบบ  สังเกตจากเด็กทำกิจกรรมในห้องเข้าบางเวลา



                  บรรยากาศในชั้นเรียน







ประเมินตนเอง


ตนเอง  วันนี้มาเรียนเข้าเรียนตรงต่อเวลา  มีคุยกับเพื่อนเล็กน้อย
       


เพื่อน   เข้าเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจทำกิจกรรมและมีส่วนร่วมในห้องเรียนดี มีคุยกับเพื่อนนิดน้อย บรรยากาศในการเรียนผ่อนคล้าย

     

  อาจารย์  อธิบายเนื้อหาที่เรียนชัดเจน พร้อมยกตัวอย่างประกอบการสอน  เทคนิคการสอนเด็กพิเศษ  การที่เราจะแนะนำเด็กพิเศษให้เด็กปกติได้รู้จัก 





บันทึกอนุทินครั้งที่3

EAED3214 INCLUSIVE EDUCATION EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

กลุ่มเรียน102

วันพฤหัสบดีที่   29 มกราคม พ.ศ.2558




     วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจาก อาจารย์ไปสัมมนาทางวิชาการผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา "วิกฤติหรือโอกาส...การศึกษาปฐมวัยไทยในเวทีอาเซียน" โรมแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ 








บันทึกอนุทินครั้งที่2

EAED3214 INCLUSIVE EDUCATION EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

กลุ่มเรียน102

วันพฤหัสบดีที่   22  มกราคม พ.ศ.2558







วันนี้ผมหยุดเรียน




บันทึกอนุทินครั้งที่1

EAED3214 INCLUSIVE EDUCATION EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

กลุ่มเรียน102

วันพฤหัสบดีที่   15  มกราคม พ.ศ.2558







ความรู้ที่ได้รับ  










- อาจารย์ได้แจกกระดาษเพื่อทำงาน โดยเป็นคำถามให้ตอบเกี่ยวความรู้ที่เคยเรียนจากวิชาที่แล้วกับความรู้เบื้องต้นของวิชานี้

- อาจารย์เล่าประสบการณ์เข้าค่ายของรุ่นพี่ให้นักศึกษาฟัง

- อาจารย์ได้มีการเฉลยข้อสอบของเมื่อเทอมนี้แล้วพร้อมอธิบายให้นักศึกษาฟัง

- อาจารย์พานักศึกษาร้องเพลง คือเพลงนม




  บรรยากาศในชั้นเรียน







       
        






ประเมินตนเอง


ตนเอง  วันนี้มาเรียนเข้าเรียนตรงต่อเวลา ในเวลาทำงานก็จะตั้งใจทำงาน มีส่วนร่วมในกิจกรรม มีคุยกับเพื่อนเล็กน้อย
       


เพื่อน   เข้าเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจทำกิจกรรมและมีส่วนร่วมในห้องเรียนดี พร้อมทั้งตั้งใจทำงานที่ได้กันทุกคน  มีคุยกับเพื่อนนิดน้อย บรรยากาศในการเรียนผ่อนคล้าย

       

  อาจารย์  อธิบายเนื้อหาที่เรียนชัดเจน พร้อมยกตัวอย่างประกอบการสอน พร้อมเล่าประสบการณ์การสอนของอาจารย์ เทคนิคการสอนเด็กพิเศษ  การที่เราจะแนะนำเด็กพิเศษให้เด็กปกติได้รู้จัก เช่น  ให้บอกว่าน้องไม่ค่อยสบาย ให้กันดูแลเพื่อน  บรรยากาศในการเรียนผ่อนคล้าย